ดร. อัจฉราพร ใครบุตร

อาจารย์

ตำแหน่งทางวิชาการ
ตำแหน่งทางคณะสงฆ์
การศึกษา ระดับปริญญาเอก
  • หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.) สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยพะเยา ปี พ.ศ. ที่จบ 2563
ระดับปริญญาโท
  • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี พ.ศ. ที่จบ 2548
ระดับปริญญาตรี
  • หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.) สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปี พ.ศ. ที่จบ 2524
งานคณะสงฆ์
ประวัติการทำงาน ประวัติการทำงาน
  • พ.ศ 2525 - 2527 อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนโพนพิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
  • พ.ศ 2527 – 2562 ครูชำนาญการพิเศษ (อาจารย์ 3 ระดับ 8) โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร
  • ปฏิบัติหน้าที่พิเศษ หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา พ.ศ. 2562 - ปัจจุบัน ข้าราชการบำนาญ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร
ประสบการณ์สอนรายวิชาที่สอน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6
  • รายวิชา ภาษาไทย
  • รายวิชา หลักภาษาไทย
  • รายวิชา ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ประสบการณ์งานบริการทางวิชาการ
  • ผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาเครื่องมือวิจัย
  • ผู้เชี่ยวชาญในการตรวจผลงานทางวิชาการ
  • วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย /โครงงายน/งานวิชาการ
  • กรรมการตัดสินกิจกรรมวิชาภาษาไทย เช่น การประกวดแต่งคำประพันธ์
งานวิจัย
  • อัจฉราพร ใครบุตร. (2563). วรรณกรรมเพลงพื้นถิ่นอีสาน: รูปแบบและลักษณะการใช้ภาษา. วารสารรัตนปัญญา, 5(2), 138-154.
  • อัจฉราพร ใครบุตร. (2563). อัตลักษณ์สารัตถะในวรรณกรรมเพลงพื้นถิ่นอีสาน. วารสารวิชาการ สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7(2).
บทความวิจัย/ทางวิชาการ
  • อัจฉราพร ใครบุตร และวิไลศักดิ์ กิ่งคำ. (2559). วัจนกรรมในบทเพลงปลุกใจให้รักชาติ ระหว่าง พ.ศ. 2510–2550. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 6(1), 61-69
  • ละอองดาว กรึกกระโทก, วุธยา สืบเทพ และ อัจฉราพร ใครบุตร . “การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำในภาษาไทยโยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๗ โรงเรีนสตรีสิริเกศ ตำบลใต้ อ.เมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ”. วารสารครุศาสตร์ มจร.โคราช. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม- กันยายน ๒๕๖๕) : ๓๔๕-๓๖๐. (TCI กลุ่ม ๓ )
  • ทรงศร รักประเทศ, พัสสน พรมมา, อนันตศักดิ์ พลแก้วเกษ, กฤษณะ ศรีกกโพธิ์, เอกฉัท จารุเมธีชน ,อัจฉราพร ใครบุตร, พิธพิบูลย์ ทองเกลี้ยง, ทัศนีย์ มงคลรัตน์ , และ พระวชิรวิชญ์ ฐิตฺวํโส. “เหล้า : บทบาทในชุมชนอีสาน”. Journal of Modern Learning Development. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑๑ (ธันวาคม ๒๕๖๕) : ๓๒๗-๓๔๑. (TCI กลุ่ม ๒)
  • พระครูคัมภีร์ธรรมานุวัตร, พชรกฤต ศรีบุญเรือง, กัลยา กุลสุวรรณ, พิธพิบูลย์ ทองเกลี้ยง, ดร.ทัศนีย์ มงคลรัตน์, พระวชิรวิชญ์ ฐิตฺวํโส และอัจฉราพร ใครบุตร. วิถีการกินของพระสงฆ์ :การสร้างอารมณ์ขันในนิทานก้อมอีสาน. Journal of Modern Learning Development. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑๑ (ธันวาคม ๒๕๖๕) : ๓๔๒-๓๕๗. (TCI กลุ่ม ๒)
  • วุธยา สืบเทพ, อัจฉราพร ใครบุตร, พชรกฤต ศรีบุญเรือง และ จิรวัฒน์ สิทธิธรรม . “หลักสูตรกิจกรรมสร้างสรรค์และเรื่องเล่มเฉพาะถิ่นโคราชโดยอาศัยการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมชุมชน เพื่อการเชื่อมโยงองค์ความรู้วัฒนธรรมการปั้นด่านเกวียนแบบโบราณ สู่การสร้างเยาวชนมัคคุเทศก์ต้นแบบประจำเขตพื้นที่การศึกษา บ้านด่านเกวียน จังหวัดนครราชสีมา”. Journal of Modern Learning Development. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ (มีนาคม ๒๕๖๖). (TCI กลุ่ม ๒)
  • Wutthaya Suebthep, Atcharaporn Kraibutr, Pacharakit Sribunruang and Jirawat Sittitham, “Creating the creative activities and Korat local stories using the creation ofcommunity participation process for connecting the cultural ancient sculpture knowledge creating the group of young tour guide prototypes for the educational area in Nakhon R”, Modern LearningDevelopment Center, Vol. 13 No. 1 (2024): 65-73.
  • ศิริวรรณ ดาทุมมา, ยุวดา สนแก้ว, อัจฉราพร ใครบุุตร, พระมหาศรายุุทธ เจตรา และ พระชรันดร์ สาระกูล. (2567). สัปเหร่อ : ศึกษาภาพสะท้อนและคติความเชื่อที่ปรากฏในภาพยนตร์. การประชุุมวิชาการระดับชาติิ ครั้งที่่ 6 ระดับนานาชาติครั้งที่ 4 เรื่องพุุทธนวัตกรรมกับการ สร้างสังคมสันติสุข อย่างยั่งยืน (น. 1139-1148). ขอนแก่น: มหาวิท ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น.
ตำราวิชาการ
เอกสารประกอบการสอน เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการแต่งคำประพันธ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
งานที่ปรึกษาวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
รางวัล/การได้รับเชิดชูเกียรติ / การศึกษาดูงาน
  • รางวัลครูภาษาไทยดีเด่น คุรุสภา ประจำปีพ.ศ. 2545
  • รางวัลครูภาษาไทยประกายเพชร มูลนิธิเพขรภาษา พ.ศ. 2547
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดบทกลอน ประเภทประชาชนในวาระครบรอบ 30 ปี 14 ตุลาคม 2516 – 2546 ประจำปี พ.ศ. 2546 โดย รัฐสภา
  • รางวัลชนะเลิศ การประกวดกลอนสุภาพเทิดพระเกียรติ”ในหลวงของเรา” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1 พ.ศ. 2550
  • รางวัล “ครูดีในดวงใจ” ประจำปีพ.ศ. 2551 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1 พ.ศ. 2551
  • รางวัลผู้ใช้ภาษาถิ่นดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2560 กระทรวงวัฒนธรรม
  • เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสายวิชาการ กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำสื่อการสอน เพื่อบุรณาการหลักพระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อพัฒนาปัญญาและคุณธรรม วันที่ ๘-๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมชั้น ๒ อาคารอาคันตุกะ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถร) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่
  • เข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สำหรับบุตลากร “ธรรมะเพื่อพัฒนางาน ประสานสามัคคีในวิถีชีวิตใหม่” ใน วันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ผ่านระบบออนไลน์ จัดโดย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด และ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
  • เข้าร่วมโครงอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสายวิชาการ กิจกรรมพัฒนา มคอ.๓ สื่อประกอบการสอน และการจัดการเรียนการสอนบนระบบออนไลน์ ระหว่าง วันที่ ๗-๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ ห้องประชุมชั้น ๒ อาคารอาคันตุกะ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถร) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
  • เข้าร่วมการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การจัดทำรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม รายวิชาชีพครู หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (๔ปี)หลักสุตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๗ ระหว่าง วันที่ ๑๓-๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ต.วังไทร อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา
  • เข้าร่วมโครงการพัฒนาหลักสูตรออนไลน์ กิจกรรม: อบรมเชิงปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีดิจิทัล สำหรับอาจารย์ การใช้ AI เพื่อการเรียนการสอนและการวิจัย การใช้ระบบ MCU MOOC เพื่อจัดการเรียนการสอนหลักสูตรออนไลน์ ระหว่าง วันที่ ๑๓-๑๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ ห้องประชุมชั้น ๒ อาคารอาคันตุกะ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถร) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
สมณศักดิ์