รศ.ดร.วิทยา ทองดี

ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป

ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาครุศาสตร์
ตำแหน่งทางคณะสงฆ์ -
การศึกษา
  • พ.ศ. ๒๕๑๕ สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาชั้นปีที่ ๔ โรงเรียนบ้านหนองเรือ ตำบลโจดหนองแก อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น
  • พ.ศ. ๒๕๒๐ สำเร็จนักธรรมชั้นเอกจากสำนักเรียนวัด นาวาสวัสดิ์ ตำบลโจดหนองแก อำเภอพลจังหวัดขอนแก่น
  • พ.ศ. ๒๕๒๓ เปรียญธรรม ๓ ประโยคสำนักเรียนวิเวกธรรมประสิทธิ์วิทยา วัดธาตุ พระอารามหลวงอำเภอเมืองขอนแก่น
  • พ.ศ. ๒๕๒๕ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น(ม.๓) สำนักเรียนการศึกษาผู้ใหญ่ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
  • พ.ศ. ๒๕๒๘ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอยปลาย (ม.๖) โรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษา มจร (วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์)
  • พ.ศ. ๒๕๒๘ สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรประโยคครูพิเศษการประถมศึกษา(พก.ศ.)กระทรวงศึกษาธิการ
  • พ.ศ. ๒๕๓๐ สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรประโยคครูพิเศษมัธยม(พ.ม)กระทรวงศึกษาธิการ
  • พ.ศ. ๒๕๓๒ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต พธ.บ. (การสอนสังคมศึกษา) มจร.
  • พ.ศ. ๒๕๓๖ ปริญญาตรี (ศษ.บ.) ศึกษาศาสตร์บัณฑิต (ประถมศึกษา) มสธ.
  • พ.ศ. ๒๕๔๖ ปริญญาโท (ศษ.ม.) ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต(เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • พ.ศ. ๒๕๕๓ ปริญญาเอก Ph.D. (สังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยมคธ ประเทศอินเดีย
  • งานคณะสงฆ์ -
    ประวัติการทำงาน
  • พ.ศ. ๒๕๓๓ – ๒๕๓๔ เลขานุการคณะครุศาสตร์
  • พ.ศ.๒๕๓๔ – ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ คณะครุศาสตร์
  • พ.ศ.๒๕๔๑ – ๒๕๔๔ รก.หัวหน้าสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
  • พ.ศ.๒๕๕๐ – ๒๕๕๑ หัวหน้าสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มจร.วิทยาเขตขอนแก่น
  • พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๐ คณะกรรมการวิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น มจร.วิทยาเขตขอนแก่น
  • พ.ศ.๒๕๕๒ – ๒๕๕๒ รองผู้อำนวยการสำนักวิชาการ มจร.วิทยาเขตขอนแก่น
  • พ.ศ.๒๕๕๓ - ๒๕๕๘ กรรมการและเลขานุการคณะอนุกรรมการบริหารงานบุคคล
  • พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๖๑ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการกรรมการสภาวิทยาเขตขอนแก่น
  • พ.ศ.๒๕๕๘ - ๒๕๕๙ ประธานบริหารหลักสูตรหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา
  • พ.ศ.๒๕๕๖ – ๒๕๕๘ รองประธานคณะอนุกรรมการการคลังและทรัพย์สินวิทยาเขตขอนแก่น
  • พ.ศ.๒๕๕๒ – ๒๕๕๗ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไปวิทยาเขตขอนแก่น
  • พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๑ รักษาการผู้อำนวยการสำนักงานวิทยาเขตขอนแก่น
  • พ.ศ.๒๕๕๙ - ปัจจุบัน เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุมิประเมินผลงานสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งสายปฏิบัติการวิชาชีพในระดับที่สูงขึ้นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย
  • พ.ศ.๒๕๖๐ - ปัจจุบัน กรรมการผู้ทรงคุณวุมิประเมินผลงานผู้ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย
  • พ.ศ.๒๕๖๐ - ปัจจุบัน เป็นผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความทางวิชาการ(Peer review) ของวารสารวิชาการด้านสังคมศาสตร์ ศึกษาศาสตร์และครุศาสตร์
  • พ.ศ.๒๕๖๐ - ปัจจุบัน ผู้อำนวยการหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต(ค.ม.) สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
  • พ.ศ.๒๕๖๓ - ปัจจุบัน รก.ผู้อำนวยการหลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต(ค.ด.) สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
  • พ.ศ.๒๕๖๒ - ปัจจุบัน บรรณาธิการวารสาร Journal of Buddhist Education and Research (JBER) (ISSN 2586-9434)
  • พ.ศ.๒๕๕๒ –ปัจจุบัน คณะกรรมการสภาวิทยาเขตขอนแก่น
  • พ.ศ.๒๕๕๓ - ปัจจุบัน คณะกรรมการประจำวิทยาเขตขอนแก่น
  • พ.ศ.๒๕๖๐ - ปัจจุบัน คณะกรรมการประจำบัณฑิตศึกษาวิทยาเขตขอนแก่น
  • พ.ศ.๒๕๖๑ – ปัจจุบัน ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไปวิทยาเขตขอนแก่น
  • งานวิจัย ๑. หัวหน้าโครงการวิจัย
  • ๑) วิทยา ทองดี, การศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาความรู้ของนิสิตชั้นปีที่ ๒ รายวิชามนุษย์กับสังคม ปีการศึกษา ๒๕๕๒ ,มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,รายงานการวิจัยในชั้นเรียน, ๒๕๕๒ (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น).
  • ๒) วิทยา ทองดี, เจตคติต่อการศึกษาหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา หลักสูตร ๕ ปี นิสิตชั้นปปีที่ ๒-๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๔, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,รายงานการวิจัยในชั้นเรียน, ๒๕๕๔ (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น)
  • ๓) วิทยา ทองดี, ศึกษาพฤติกรรมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ของนิสิตที่ศึกษารายวิชาการใช้ภาษาไทยสำหรับครู ชั้นปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๕, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,รายงานการวิจัยในชั้นเรียน, ๒๕๕๕ (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น).
  • ๔) วิทยา ทองดี, ประสิทธิภาพการสอนวิชาพระพุทธศาสนาของครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๕ ,มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,รายงานการวิจัย, ๒๕๕๗. (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น).
  • ๕) วิทยา ทองดี, พัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านจิตใจแก่ของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, รายงานการวิจัย,๒๕๕๘ . (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,(วช.)
  • ๖) วิทยา ทองดี , การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,รายงานการวิจัย, ๒๕๕๘. (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,(วช.))
  • ๗) วิทยา ทองดี , พัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยหลักศีล ๕ ของบุคลากรทางการศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (The Principle of Five Precepts with Development of Quality of Life of Educational Personnel in upper Northeast Region), มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, รายงานการวิจัย,๒๕๕๙ . (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,(วช.))
  • ๘) วิทยา ทองดี , พุทธบูรณาการเพื่อการส่งเสริมครูต้นแบบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, รายงานการวิจัย,๒๕๖๐ . (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,(วช.))
  • ๙) วิทยา ทองดี , การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงพุทธ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรร, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, รายงานการวิจัย,๒๕๖๑ . (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,(วช.))
  • ๑๐) วิทยา ทองดีและคณะ, การศึกษารูปแบบการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจใหม่ของชุมชนในอำเภอเมืองของขอนแก่น, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, รายงานการวิจัย,๒๕๖๒ . (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ,)
  • ๑๑) วิทยา ทองดี และคณะ, รูปแบบการพัฒนาชุมชนสร้างสรรค์ด้วยขบวนการทางเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม สุขภาวะ ศิลปะ และการออกแบบเมืองขอนแก่น (Creative Community development moddel through environmental technology , health, art and design process in KhonKean,รายงานการวิจัย, ๒๕๖๓. (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, (สกสว.))
  • ๑๒) วิทยา ทองดี และคณะ, รูปแบบการพัฒนาการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่โคกหนองนา พุทธอารยเกษตรสู่การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากอย่างยั่งยืนจังหวัดขอนแก่น ,รายงานการวิจัย,๒๕๖๖.(ทุนส่วนงานมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น)
  • ๑๓) วิทยา ทองดี และคณะ, รูปแบบการพัฒนาจิตอาสาและความรับผิดชอบต่อสังคมเชิงพุทธของเยาวชนต้นแบบจังหวัดขอนแก่น, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย,รายงานการวิจัยฉบับร่างสมบูรณ์,๒๕๖๗,(ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, (สกสว.))
  • ๑๔) วิทยา ทองดี และคณะ, การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการพัฒนาจิตอาสาและความรับผิดชอบต่อสังคมเชิงพุทธของเยาวชนต้นแบบจังหวัดขอนแก่น(โครงการวิจัยย่อยที่๓), มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย,รายงานการวิจัย,๒๕๖๗,(ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, (สกสว.))
  • ๒. ผู้ร่วมวิจัย
  • ๒)ประยูร แสงใส, วิทยา ทองดี , การจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับหลักพุทธธรรมเพื่อขัดเกลาพฤติกรรมของนักเรียนและนักศึกษา วิทยาลัยสารพัดช่างขอนแก่น,มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,รายงานการวิจัย,๒๕๕๗ .(ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,(วช.))
  • ๓)สุรพล พรมกุล, วิทยา ทองดี , กระบวนการสร้างวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันของชุมชนตามโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ : กรณีศึกษาหมู่บ้านในภาคเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, รายงานการวิจัย,๒๕๕๗ . (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,(วช.))
  • ๔) สุนทร สายคำ,พระอธิการบุญช่วย โชติวํโส, วิทยา ทองดี , ยุทธศาสตร์และรูปแบบการเสริมสร้างเครือข่ายเมืองขอนแก่นสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,รายงานการวิจัย,๒๕๖๐ . (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,(วช.))
  • ๕)สุรพล พรมกุล และ วิทยา ทองดี , การจัดการความรู้การป้องกันยาเสพติดของพระสงฆ์กลุ่มสังฆพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, รายงานการวิจัย,๒๕๖๑ . (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,(วช.))
  • ๖)สุรพล พรมกุล และวิทยา ทองดี , การจัดการความรู้พระพุทธศาสนาสำหรับผู้สูงอายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, รายงานการวิจัย,๒๕๖๑ . (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,(วช.))
  • ๗) สุรพล พรมกุล และ วิทยา ทองดี, รูปแบบการจัดการแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสานา จังหวัดมหาสารคาม, รายงานการวิจัย, ๒๕๖๑, (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (วช.)
  • ๘) สิทธิพล เวียงธรรม,อนุสรณ์ นางทะราช และ วิทยา ทองดี, การบริหารจัดการท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, รายงานการวิจัย, ๒๕๖๒. (ทุนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,(วช.))
  • ๙) สุรพล พรมกุล,วิทยา ทองดี และ สุธิพงษ์ สวัสดิ์ทา, รูปแบบการเสริมสร้างเครือข่ายลดปัจจัยเสี่ยงด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในเทศบาลนครขอนแก่น, รายงานการวิจัย,๒๕๖๓.(ทุนโครงการวิจัยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.))
  • ๑๐)สุรพล พรมกุล, วิทยา ทองดี, พุทธบูรณาการเพื่อการส่งเสริมนักการเมืองท้องถิ่นต้นแบบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง, รายการการวิจัย, ๒๕๖๔. ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน,
  • บทความวิจัย/ทางวิชาการ ๑.บทความวิจัยที่ได้รับตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ
  • ๑) วิทยา ทองดี, Development of the Learning Management Model of Morality Teaching Monks in the Northeast of Thailand, at Asia-Pacific Social Science Conference Kyoto Research Park, Japan. (Conference Proceeding, November 22-24, 2016)
  • ๒) วิทยา ทองดี, ประสิทธิภาพการสอนวิชาพระพุทธศาสนาของครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๕, บทความ วิจัย,วารสารวิชาการธรรมทรรศน์ ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ ๑ ประจำเดือน มีนาคม – มิถุนายน ๒๕๕๘ .(TCI กลุ่ม 1)
  • ๓)วิทยา ทองดี, พัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านจิตใจแก่ของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ , บทความวิจัย,วารสารวิชาการธรรมทรรศน์ ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ ๒ ประจำเดือน กรกฎาคม – ตุลาคม ๒๕๕๘ . (TCI กลุ่ม 1)
  • ๔)วิทยา ทองดี, Development of the Learning Management Model of Morality Teaching Monks in the Northeast of Thailand,บทความ วิจัย.วารสารวิชาการธรรมทรรศน์ ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๓ ประจำเดือน เดือน ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๙. (TCI กลุ่ม 1)
  • ๕) Vitthaya Thongdee, Suraphon Promgul, Niraj Ruangsan. Development of Learning Management Model of Morality Teaching Monks in the Northeast of Thailand Presented in ‘Asia-Pacific Social Science Conference (APSSC), 22-24 November 2016, Kyoto, Japan’, Published in ‘Dhammathas Journal’ 16, Volume 3, November-December, 2015, ISSN: 1513-5845) (TCI 01), Journal link: https://so06.tci- thaijo.org/index.php/dhammathas/article/view/79789/63664
  • ๖)วิทยา ทองดี, การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ MODEL DEVELOPMENT OF LEARNING MANAGEMENT OF MORAL TEACHING BUDDHIST MONKS IN THE SCHOOLS IN NORTHEASTERN REGION.บทความวิจัย, วารสารวิชาการธรรมทรรศน์ ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๓ ประจำเดือน เดือน ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๙. (TCI กลุ่ม 1)
  • ๗) วิทยา ทองดี, กระบวนการสร้างวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันของชุมชนตามโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ : กรณีศึกษาหมู่บ้านในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ภาคกลาง (Subproject 3. The Process of a Making The Coexistent culture of The Five Precept Village Project : A case Study of The village in North Northeast Central and South Thailand) บทความวิจัย,วารสารวิชาการธรรมทรรศน์ ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๓ ประจำเดือน ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๕๙. (TCI กลุ่ม 1)
  • ๘)วิทยา ทองดี, การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยหลักศีล ๕ ของบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียง เหนือตอนบน ( The Principle of Five Precepts with Development of Quality of Life of Educational Personnel in upper Northeast Region), บทความวิจัย,วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๓ เดือน กรกฏาคม – กัยายน ๒๕๖๑. (TCI กลุ่ม 1)
  • ๙)วิทยา ทองดี , การจัดการความรู้การป้องกันยาเสพติดของพระสงฆ์กลุ่มสังฆพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, บทความวิจัย,วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬา ขอนแก่น ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๓ เดือน กรกฏาคม – กันยายน ๒๕๖๒. (TCI กลุ่ม 1)
  • ๑๐)วิทยา ทองดี , การจัดการความรู้พระพุทธศาสนาสำหรับผู้สูงอายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน, บทความวิจัย, Journal of Buddist Education and Research, ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ ประจำเดือน มกราคม - มิถุนายน ๒๕๖๒. (TCI กลุ่ม 2)
  • ๑๑)วิทยา ทองดี , รูปแบบการจัดการแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาจังหวัดมหาสารคาม, บทความวิจัย, พิมพ์เผยแพร่วารสาร ปัญญา ปีที่ ๒๗ ฉบับที่ ๑ ประจำเดือน มกราคม - มิถุนายน ๒๕๖๓. มมร วิทยาเขตล้านนา (TCI กลุ่ม 2)
  • ๑๒) วิทยา ทองดี , พุทธบูรณาการเพื่อการส่งเสริมครูต้นแบบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน, บทความวิจัย, วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๓ เดือน กรกฏาคม – กันยายน ๒๕๖๒. (TCI กลุ่ม 1)
  • ๑๓) วิทยา ทองดี , การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงพุทธ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม, บทความวิจัย,วารสาร บัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม – ธันวคม ๒๕๖๒. (TCI กลุ่ม 1)
  • ๑๔) วิทยา ทองดี, การบริหารจัดการท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม, บทความวิจัย, วารสารวิชาการ Journal of Buddhist Education and Research (JBER) ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๒. (TCI กลุ่ม 2)
  • ๑๕) วิทยา ทองดี , การศึกษารูปแบบการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจใหม่ชุมชนอำเภอเมืองขอนแก่น, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย, บทความวิจัย, วารสารวิชาบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๓ ประจำเดือนกรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๓. (TCI กลุ่ม 2)
  • ๑๖) สุรพล พรมกุล, วิทยา ทองดี. พุทธบูรณาการเพื่อการส่งเสริมนักการเมืองท้องถิ่นต้นแบบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง. วารสารศิลปการ จัดการ. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มีนาคม ๒๕๖๕) TCI กลุ่ม ๑
  • ๒. บทความวิชาการที่ได้รับตีพิมพ์เผยแพร่ระดับนานาชาติ(SCOPUS/ERIC)
  • 1) Ven. Dr. Phrapalad Somchai Payogo (Damnoen), Dr. Phra Suriya Kongkawai, Phra Athiwat Ratanavanno (Thammawatsiri), Dr. Vitthaya Thongdee, Dr. Phumphakhawat Phumphongkhochason, Dr. Rungroje Songsraboon. (2020). Factors Affecting Decision Making to Study Massive Online Open Course (MOOC) for Bachelor Degrees in Bangkok. Solid State Technology. Vol.63. No. 5.: 4685-4694. (Scopus)
  • 2) Niraj Ruangsan, Vitthaya Thongdee, Nites Sanannaree, Somkuan Namseethan. (2021). Buddhist Doctrines for Human Capital Development in Thailand, (Is accepted for oral / video presentation at “ICTEMR-2021” on 27 th – 28 th March 2021 at EITS, Thailand, all accepted papers will be published in Scopus Journals) (Scopus Q4)
  • 3) Niraj Ruangsan, Phrasophonphatthanabundit, Vitthaya Thongdee, Suraphon Promgun, Wichian Sanmee, Ekarach Kositpimanvach. ‘Buddhist Instruction Care for Thai Elderly in the Upper Northeast’. Psychology and Education, 2021. 58(1): p. 1513-1517. (Scopus Q4 & ERIC), Journal link: http://psychologyandeducation.net/pae/index.php/pae/article/view/938, ERIC link: https://eric.ed.gov/?q=
  • 4) Wichian Sanmee, Niraj Ruangsan,Vitthaya Thongdee, Somkuan Namseethan, Phramaha Mit Thitapañyo. ‘Comparison of Buddhist Principles with Archaeological Execution’. Psychology and Education, 2021. 58(2): p. 5669-5674. (Scopus Q4), Journal link: http://www.psychologyandeducation.net/pae/index.php/pae/article/view/2989/2656
  • 5) Vitthaya Thongdee, Pranjitr Sukumal, Ekkarach Kositpimanvach, Somkhuan Namseethan, Phanthiwa Thabphumee, Niraj Ruangsan. The Buddhist Integrative Model in Promoting Master Teachers in Upper Northeast of Thailand. Psychology and Education, 2021. 58(3): p. 4194- 4298. (Scopus Q4), Journal link: http://www.psychologyandeducation.net/pae/index.php/pae/article/view/4656/4105
  • 6) Vitthaya Thongdee, Suraphon Promkun, Sutipong Sawatta, Somkuan Namseethan, Niraj Ruangsan. The Model of Buddhist Learning Activities for Social Studies, Religion and Culture. Psychology and Education, 2021. 58(2): p. 10498-10504. (Scopus Q4), Journal link: http://www.psychologyandeducation.net/pae/index.php/pae/article/view/4021/3568
  • 7) Witthaya Thongdee, Suraphon Promgun, Suthipong Sawadtha, Somkhoun Namsithan, Panthiwa Thubphumee, Niraj Ruangsan. A Model of Creative Community Development in Khon Kaen: Buea-Ban (Old City Pillar Shrine). Multicultural Education, (accepted for April 2021). (Scopus Q3), Journal link: http://ijdri.com/me/wp-content/uploads/2021/04/37.pdf
  • 8) Marasri, S., Thongdee, V., Homsombat, P., Linphu, P. F., Homchoomchung, A., Nasaweang, B., & Ruangsan, N. (2021). CLM English teaching and learning guidelines for undergraduate students in social studies at Phutthachinnarat Sangha College, MCU. Linguistics and Culture Review, 5(S3), 277-286. https://doi.org/10.21744/lingcure.v5nS3.1606
  • 9) Srinok, S., Wongsuwan, N., Buppapan, S., Widesbrommakun, P., Thongdee, V., & Ruangsan, N. (2021). Buddhism and Thai educational system: historical perspectives. Linguistics and Culture Review, 5(S1), 1335-1342. https://doi.org/10.21744/lingcure.v5nS1.1635
  • 10) Vitthaya Thongdee, Suraphon Promgun, Suthipong Sawadtha, Somkhoun Namsithan, Phanthiwa Thubphumee, Niraj Ruangsan. (2022). The Development of Community Learning Center ‘Bue Ban’ in Driving the Smart City Policy in Khon Kaen, Thailand. International Journal of Evaluation and Research in Education (IJERE). Vol. 11, No. 2, June 2022, pp. xx~xx. ISSN: 2252-8822, DOI: 10.11591/ijere.v8.i1.ppxx-xx
  • 11) Thaksina Krairach, Phrasophonphatthanabundit, Phra Mahayothin Yothiko (Padchasi), Vitthaya Thongdee, Niraj Ruangsan. (2022). Chronic Wounds Healing by Innovative Herbal Medicine and Buddhist Ways to Prevent Disability in Diabetic Patients. European Chemical Bulletin (ECB). Vol. 10, No.2.
  • 12) Vittaya Thongdee and Other. Development Model of Utilization of Biodiversity in Khok, Nong Na Area: Buddhist Agricultural Civilization Towards Sustainable Economic Development in Khon Kaen Province. (6th National and the 4th International Conference on Buddhist Innovation and the Creation of a Sustainable Peaceful Society Mahachulalongkornrajavidyalaya University Khon Kaen Campus) 27th March 2024
  • 13) Vittaya Thongdee and Other. The Buddhist Development of Volunteer Spirit and Social Responsibility of Youth in Khon Kaen Province. (6th National and the 4th International Conference on Buddhist Innovation and the Creation of a Sustainable Peaceful Society Mahachulalongkornrajavidyalaya University Khon Kaen Campus) 27th March 2024
  • 14) Vittaya Thongdee and Other. The development of learning activities to promote volunteer spirit development and social responsibility in Buddhism among youth in Khon Kaen Province. (6th National and the 4th International Conference on Buddhist Innovation and the Creation of a Sustainable Peaceful Society Mahachulalongkornrajavidyalaya University Khon Kaen Campus) 27th March 2024
  • ๓. บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ
  • ๑) วิทยา ทองดี, การศึกษาเพื่อสร้างมนุษย์ให้สมบูรณ์ , บทความวิชาการ ,วารสาร ธรรมทรรศน์ (Thammathat Journal) ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ ประจำเดือน มีนาคม ๒๕๕๓ - มิถุนายน ๒๕๕๓, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น)
  • ๒) วิทยา ทองดี, มนุษย์กับกระบวนการเรียนรู้ตามแนวพุทธศาสตร์”บทความวิชาการ ,วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาเขตขอนแก่น ที่ ๘ ฉบับที่ ๓ กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕)
  • ๓) วิทยา ทองดี, “หลักธรรมาภิบาลและสันติภาพ” บทความวิชาการ ,นิตยสาร ธรรมทรรศน์ Thammathat Journal) ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๓ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๒- กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น)
  • ๔) วิทยา ทองดี, ปัญหาสังคมและการจัดระเบียบทางสังคม,(งานเขียนตำรา บทที่ ๗), หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รหัสวิชา๐๐๐ ๑๐๑ มนุษย์กับสังคม (Man and Society (ฉบับปรับปรุง) ( โครงการจัดทำและพัฒนาหลักสูตร กองวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖
  • ๕) วิทยา ทองดี, กระบวนการเรียนรู้ตามแนวพุทธศาสตร์ ,(งานเขียนตำรา บทที่ ๖)หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต หมวดวิชาเฉพาะสาขา รหัสวิชา ๒๐๓ ๓๑๔ พุทธปรัชญาการศึกษา(Buddhist Philosophy for Education) (โครงการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้พระพุทธศาสนา สำนักหอ สมุดเทคโนโลยีสารสนเทศ และกองวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๕, ตุลาคม ๖
  • ๖) วิทยา ทองดี, แนวทางการพัฒนาสอนน้อย เรียนมากตามแนวพุทธศาสนา (Teach Less Learn More : TLLM According to way Buddhist) ,บทความ ทางวิชาการ นำเสนอผลงานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต เมื่อวันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๘
  • ๗) วิทยา ทองดี, แนวทางการพัฒนาสอนน้อย เรียนมากตามแนวพุทธศาสนา (Teach Less Learn More : TLLM According to way Buddhist), นำเสนอผล งานวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๑ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
  • ๘) วิทยา ทองดี, การพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ด้วยหลักศีล ๕ The Development of Quality of Life with Five Precepts , บทความวิชาการ, วารสารวิชาการ ธรรมทรรศน์ ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๑ (ฉบับพิเศษ) เดือน ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๙) (TCI กลุ่ม 1)
  • ๙) วิทยา ทองดี, Proactive Propagation of Buddhism at khon kaen campus, บทความวิชาการ,นำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๕ ระดับนานาชาติครั้งที่ ๓ The 5 th national and the 3th International Conference 2018 (Volunteer Spirit for Sustainable Social Development ) วันที่ ๒๘-๒๙ มีนาคม ๒๕๖๑, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น.
  • ๑๐)วิทยา ทองดี, แนวทางการพัฒนาการสอนสังคมศึกษาตามแนวพุทธ ยุคThailand ๔.๐, บทความทางวิชาการ,วารสารวิชาการธรรมทรรศน์ ปีที่ ๑๘ ฉบับ ที่ ๒ เดือน พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๖๑ .(TCI กลุ่ม 1)
  • ๑๑) Niraj Ruangsan, Vitthaya Thongdee, Nites Sanannaree, Somkuan Namseethan. ‘Buddhist Doctrines for Human Capital Development in Thailand’. International Conference on Technology Innovative Educational and Multidisciplinary Skills in the 21st Century Research. 27- 28 March 2010. EITS-Thailand. International Conference 2021 | Thailand Conference 2021 | Upcoming Conference Thailand - I CTEMR
  • ๑๒) พระโอ๋ คนฺธิสี โลวราศัย, พระดิเรก กตฺฺตินาโค (เฮงสีว่าง), พระลิขิตฺ ปริ ปุณฺโณ (เลี่ยมเพ็ชรรัตน์)และวิทฺยา ทองดี. แนวทางการพัฒนาการสอนสังคมศึึกษาตามแนวพุุทธศาสนาในศตวรรษที่ 21. บทความวิชาการ,๒๕๖๗,นำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดัับชาติ ครั้งที่่ 6 และระดับชาติครั้งที่ ๔ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น วันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๗
  • ๑๓) พระศุภโชค สุนทรธมฺโม (ล้านแสน), พระนันธวุฒิ สุชยวุฑฺฺฒิโก (โคตะบิน ), พระชาญชัย รตโน (ชำนาญบึงแก) และวิทยา ทองดี. การนำพุุทธวิธีมาประยุกต์ ใช้ ในการสอนสังคมศึกษา. บทความวิชาการ,๒๕๖๗,นำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดัับชาติ ครั้งที่่ 6 และระดับชาติครั้งที่ ๔ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น วันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๗
  • ๑๔) พระลัคกี้ วรปัญญา, คุณากร สมบึงกลาง, จิรันธนิน ศิริหลวง, วิศวชิต พระโคตร และวิทยา ทองดี. พุทธนวัตกรรมเพื่อการส่งเสริมครูต้นแบบในศตวรรษที่ 21. บทความวิชาการ,๒๕๖๗,นำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดัับชาติ ครั้งที่่ 6 และระดับชาติครั้งที่ ๔ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น วันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๗
  • ๑๕) พระณัฐวุฒิ กิตติปญฺฺโญ (ฤทธิพันธิ์ ) และวิทยา ทองดี. ปัญหาทางสังคมกับการจัดระเบียบทางสังคม. บทความวิชาการ,๒๕๖๗,นำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดัับชาติ ครั้งที่่ 6 และระดับชาติครั้งที่ ๔ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น วันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๗
  • ตำราวิชาการ ๑) ประเภทตำรา
  • พื้นฐานการศึกษา
  • ๒) ประเภท หนังสือ
  • เทคนิคการสอนสังคมศึกษาเชิงพุทธ
  • ๓) ประเภทเอกสารคำสอน
  • วิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเบื้องต้น
  • เอกสารประกอบการสอน
  • รายวิชา การพัฒนาสังคมวิทยาการศึกษา
  • วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา (หมวดวิชาชีพครู)
  • วิชาพุทธปรัชญาการศึกษา กลุ่มวิชาเฉพาะ สาขาวิชาสังคมศึกษา
  • วิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาสำหรับครู สาขาวิชาสังคมศึกษา
  • งานที่ปรึกษาวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
  • ปี พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๙ เป็นประธานที่ปรึกษา/ที่ปรึกษาร่วม วิทยานิพนธ์นิสิตระดับปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาเขตขอนแก่น จำนวน ๑๖ รูป/ คน/ เล่ม
  • ปี พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๑ เป็นประธานที่ปรึกษา/ที่ปรึกษาร่วมวิทยานิพนธ์
  • ๑) เรื่อง การจัดการเรียนรู้ด้านจริยธรรมของผู้เรียนในกลุ่มสาระเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครขอนแก่น, พิมพ์เผยแพร่ในวารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, ปีที่ ๖ ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๖๒. (TCI กลุ่ม 1)
  • ๒) การศึกษารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงพุทธ เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะนักศึกษาที่พึงประสงค์ด้านคุณธรรม จริยธรรมวิทยาลัยการอาชีพหนองหาน, พิมพ์ เผยแพร่ในวารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, ปีที่ ๖ ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๖๒. (TCI กลุ่ม 1)
  • ๓) เรื่อง พุทธวิธีการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมระดับมัธยมศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครขอนแก่น พิมพ์เผยแพร่ในวารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, ปีที่ ๖ ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๖๒. หน้า ๑๕๓-๑๖๕. (TCI กลุ่ม 1)
  • ๔) เรื่อง การบูรณาการจัดการเรียนรู้สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคมโดยสะเต็มศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต๒๖, เผยแพร่ในวารสารพิมลธรรม มจร วิทยาเขตขอนแก่น, ฉบับปีที่๖ ฉบับที่๑ ประจำเดือนมกราคม - มิถุนายน ๒๕๖๒ .(TCI กลุ่ม 2)
  • ๕) เรื่อง การศึกษาบูรณาแนวทางหลักธรรมที่ปรากฏในประเพณีบุญบั้งไฟกับหลักสูตรท้องถิ่นในสถานศึกษา สังกัดเทศบาลอุดรธานี. เผยแพร่วารสารพิมลธรรม, ฉบับปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ เดือนมกราคม - มิถุนายน ๒๕๖๒ .(TCI กลุ่ม 2)
  • ๖) เรื่อง การจัดการเรียนรู้เพื่ีอพัฒนาผู้เรียนด้านจริยธรรมในการเรียนสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย. เผยแพร่ในวารสารวิชาการศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ฉบับปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๑ เดือนมกราคม - มีนาคม ๒๕๖๒. (TCI กลุ่ม 2)
  • ๗) เรื่อง การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมตามหลักศีล ๕ ของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต๕. เผยแพร่ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, ฉบับปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ เดือนกรกฏาคม - ธันวาคม ๒๕๖๒. (TCI กลุ่ม 2)
  • ๘) เรื่อง การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามแนวคิด "ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้" ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต๒๕ . เผยแพร่ในวารสารวิชาการธรรมทรรศน์ มจร.วิทยาเขตขอนแก่น, ฉบับปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๔ เดือนตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๒. (TCI กลุ่ม 1)
  • ๙) เรื่อง การจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาของครูผู้สอนโดยใช้หลักสาราณียธรรม ๖ ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ จังหวัดกาฬสินธุ์. เผยแพร่่ในวารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, ฉบับปีที่ ๖ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๒ (TCI กลุ่ม 1)
  • ๑๐) เรื่อง สภาพการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาสาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ด้วยหลักพรหมวิหาร ๔ ของครูผู้สอนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๔. เผยแพร่ในวารสารวิชาการธรรมทรรศน์ มจร วิทยาเขตขอนแก่น, ฉบับปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๔ เดือน ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๒. (TCI กลุ่ม 1)
  • ๑๑) เรื่อง การจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาตามหลักไตรสิกขาเพื่อพัฒนาผู้เรียนในสาระหน้าที่พลเมือง และการดำเนินชีวิตในสังคมสำหรับนักเรียนโรงเรียนชุมชนชุมแพ จังหวัดขอนแก่น. เผยแพร่ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยมหามกุฐราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด. ฉบับปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ เดือนกรกฏาคม - ธันวาคม ๒๕๖๒. (TCI กลุ่ม 2)
  • ๑๒) เรื่อง รูปแบบการจัดการเรียนรู้สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม เพื่อแก้ไขปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลในผู้นำเด็กและเยาวชน : กรณีศึกษาสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดขอนแก่น. เผยแพร่ในวารสารวิชาการแสงธรรมมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ฉบับปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๑ เ ดือนมกราคม - มิถุนายน ๒๕๖๒ . (TCI กลุ่ม 2)
  • ปี พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๓ เป็นประธานที่ปรึกษา/ที่ปรึกษาร่วมวิทยานิพนธ์
  • ๑) เรื่อง การจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา เพื่อส่งเสริมผู้เรียนด้านการป้องกันการทุจริตคอรัปชั่น ตามหลักฆราวาสธรรม 4 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพังโคนวิทยาคม จังหวัดสกลนคร (LERNING MANAGEMEWT IN SOCIAL SOCIETY SUBJECT FOR PROMOTE LEARNER IN ANTI – CORRUPTION EDUCATION WITH SECOULR DHAMA 4 GRADE 1 TUDENT’ LEARNING ACHIEVEMENTPANGKHON WITTAYAKHOM SCHOOL SAKHONNAKHON PROVINC) ได้รับหนังสือตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ Journal of Buddhist Education and Research ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม- มิถุนายน 2563.(TCI กลุ่ม 2)
  • ๒ ) เรื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ตามหลักไตรสิกขาโดยการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อส่งเสริมศักยภาพในการจัดการศึกษาที่ยั่งยืนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเทศบาลเมืองหนองสำโรง จังหวัดอุดรธานี THE PARTICIPATORY LEARNING ACTIVITIES MANAGEMENT BASED ON THE THREEFOLD TRAINING BY ADOPING THE PHILOSOPHY OF SUFFICIENCY ECONOMY TO PROMOTE SUSTAINABLE EDUCATION MANAGEMENT IN SCHOOL UNDER THE NONG SAMRONG MUNICIPILITY OFFICE UDON THANI PROVINCEได้รับหนังสือตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ Journal of Buddhist Education and Research ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม- ธันวาคม 2562. (TCI กลุ่ม 2)
  • ๓ ) เรื่อง"การศึกษาการจัดกิจกรรมกระบวนการคิดโดยใช้วิจารณญาณเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขาของนักเรียนโรงเรียนสารคามพิทยาคม จังหวัดมหาสารคาม (A STUDY OF ACTIVITY MANAGEMENT BY CRITICAL THINKING TO ENHANCE LEARNING BASED ON TRISIKKHA OF STUDENTS IN SARAKHAMPITTAYAKHOM SCHOOL MAHASARAKHAM PROVINCE) ได้รับหนังสือตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ Journal of Modern Learning Development ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม- กุมภาพันธ์ 2563. (TCI กลุ่ม 2)
  • ๔) เรื่อง การจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักอิทธิบาท ๔ ในศตวรรษที่ ๒๑ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านไผ่พิทยาคม อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น LEARNING MANAGEMENT BY USING THE FOUR IDDHIPADA PRINCIPLES IN THE 21 ST CENTURY OF STUDENTS AT BANPHAIPHITTHAYAKHOM SCHOOL, BANPHAI DISTRICT, KHONKAEN PROVINCE ได้รับหนังสือตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ Journal of Buddhist Education and Research ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม- มิถุนายน 2563.(TCI กลุ่ม 2)
  • ๕) เรื่อง การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยใช้สมาธิเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ (LEARNING MANAGEMENT IN SOCIAL STUDIES, RELIGION AND CULTURE AREAS BASED ON CONSENTRATION TO PROMOTE LEARNING SKILL MUAENGKALASIN HIGHER SECONDA SCHOOL STUDENTS KALASIN PROVINCE) ,ได้รับหนังสือตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ Journal of Modern Learning Development ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม- กุมภาพันธ์ 2563. (TCI กลุ่ม 2)
  • ๖) เรื่อง"การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการ ของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนจังหวัดขอนแก่น (A STUDY OF THE INTEGRATIVE BUDDHIST LEARNING MANAGEMENT MODEL OF THE MORAL TEACHING MONKS IN SCHOOLS IN KHON KAEN PROVINCE) ได้รับหนังสือตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ Journal of Buddhist Education and Research ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม- มิถุนายน 2563.( TCI กลุ่ม 2)
  • ๗) "การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือในการส่งเสริมความมีจิตอาสาต่อการเรียนการสอนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเทศบาล ๑ (บ้านโพธิ์กลาง) จังหวัดอุบลราชธานี (LEARNING ACTIVITY MANAGEMENT BY CO- OPERATION FOR STRENGTHENING OF VOLUNTARY SPIRIT TOWARDS LEARNING OF THE HIGHER SECONDARY SCHOOL STUDENTS THESSABAL SCHOOL 1 (BAN PHO KLANG) UDONTHANI PROVINCE) ได้รับหนังสือตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ Journal of Buddhist Education and Research ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม- มิถุนายน 2563 (TCI 2)
  • ๘) การจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนด้านจิตอาสา ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี (LEARNING MANAGEMENT BY PARTICIPATORY FOR DEVELOPING VOLUNTEERY SPIRIT STUDENTS BASED ON SANGHAHAVATTHU 4 OF THE PHRAPARIYATTIDHAMMA LOWER SECONDARY SCHOOL STUDENTS GENERAL EDUCATION UBONRATCHATHANI PROVINCE), ได้รับหนังสือตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ Journal of Modern Learning Development ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม- กุมภาพันธ์ 2563 .(TCI กลุ่ม 2)
  • ๙) เรือง การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนด้านจิตอาสา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนอนุกูลนารี จังหวัดกาฬสินธุ์ (THE LEARNING MANAGEMENT IN LEARING AREAS OF SOCIAL STUDIES RELIGION AND CULTURE FOR LEARNER’SVOLUNTEER SPIRIT DEVELOP IN THE UPPER SCHOOL STUDENTS OF ANUKOONNAREE SCHOOL, KALASIN PROVINCE) ได้รับหนังสือตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ Journal of Buddhist Education and Research ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม- มิถุนายน 2563. (TCI กลุ่ม 2)
  • ๑๐) เรือง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักพุทธวิธีของครูกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยม เขต ๑๙ THE MODEL OF LEARNING MANAGEMENT BASED ON BUDDHIST PRINCIPLES OF TEACHERS IN THE LEARNING SECTION OF SOCIAL STUDIES, RELIGION AND CULTURE UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 19 ได้รับหนังสือตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ Journal of Modern Learning Development ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม- กุมภาพันธ์ 2563, (TCI กลุ่ม 2)
  • ๑๑) ศึกษาการปฏิบัติตนตามมาตรฐานวิชาชีพของครูผู้สอน ที่ยึดหลักธรรมมรรคมีองค์ ๘ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษา ในสถานศึกษาสังกัดเทศบาลนครขอนแก่น A STUDY OF SELF-CONDUCTS ACCORDING TO TEACHERS’ PROFESSIONAL STANDARDS BASED ON EIGHTFOLD PATHS OF SECONDARY SCHOOL TEACHERS IN SOCIAL STUDIES, RELIGION AND CULTURE DEPARTMENT UNDER THE KHONKAEN MUNICIPALITY SCHOOLS ได้รับหนังสือตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ Journal of Buddhist Education and Research ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฏาคม- ธันวาคม 2562,( TCI กลุ่ม 2)
  • ๑๒) การบูรณาการการเรียนรู้นวัตวิถีเชิงพุทธ : กรณีศึกษาหัตถกรรมผ้าย้อมคราม ของชุมชนบ้านตาด อำเภอคำตากล้า จังหวัดสกลนคร (THE INTEGRATED LEARNING MANAGEMENT OF BUDDHIST INNOVATIVE WAYS OF LIFE: CASE STUDY OF INDIGO DYED FABRIC HANDICRAFT OF TAD VILLAGE COMMUNITY, PHAET SUB-DISTRICT, KHAMTAKLA DISTRICT, SAKONNAKHON PROVINCE) , ได้รับหนังสือตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ Journal of Buddhist Education and Research ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฏาคม- ธันวาคม 2562.(TCI กลุ่ม 2)
  • รางวัล/การได้รับเชิดชูเกียรติ / การศึกษาดูงาน ๑. รางวัล/เกียรติบัตร/วุฒิบัตร
    • พ.ศ.๒๕๔๙ ได้รับคัดเลือกเป็น “ศิษย์เก่าดีเด่น มจร.” ของสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๙
    • พ.ศ.๒๕๔๘-๒๕๖๑ ได้รับเกียรติบัตร “คณะกรรมการดำเนินงาน,คณะกรรมการตัดสินการประกวดจัดการแสดงและประกวดศิลปวัฒนธรรมพื้นเมืองอีสาน” ณ คุ้มวัฒนธรรม ศาลาผูกเสี่ยว ในงานเทศกาลไหมนานาชาติ ประเพณีผูกเสียวและงานกาชาดจังหวัดขอนแก่น ตั้งแต่ปี ๒๕๔๘-๒๕๖๑ ได้แก่ ประกวดแข่งขันกลองยาว, การประกวดสรภัญญ์ ,ประกวดเพลงกล่อมลูกอีสาน
    • พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้รับเกียรติบัตรผ่านการอบรม “ นักจัดรายการวิทยุเครือข่ายวัฒนธรรม”เพื่อการสร้างสรรค์สังคมคุณธรรม จริยธรรม บนพื้นฐานคุณค่าวัฒนธรรมที่ดีงาม จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม
    • พ.ศ. ๒๕๕๑
    • (๑) ได้รับการคัดเลือก เป็น “ผู้คุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา” ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องในวันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลโลก ประจำปี ๒๕๔๙ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ประเภท ส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธ ศาสนา ได้รับเกียรติบัตรจากเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถร)ณ มจร.วิทยาเขตขอนแก่น
    • (๒) ได้รับคัดเลือกเป็น “ผู้คุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา” เนื่องวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันมาฆบูชา ปี ๒๕๕๒ ประเภท การอุปถัมภ์ บำรุงพระพุทธศาสนา ของคณะสงฆ์จังหวัดขอนแก่น
    • (๓) ได้เกียรติบัตร “คณะกรรมการตัดสินการแข่งขันสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัยทำนองสรภัญญะ ระดับภาค ประจำปี ๒๕๕๒” ดำเนินงานโดย กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดกาฬสินธุ์ ณ ศูนย์พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติ วัด ประชานิยม อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์
    • พ.ศ.๒๕๕๒
    • (๑) ได้รับคัดเลือกเป็น “ครูดีเด่น” (Person Awards) ระดับเขตพื้นที่การศึกษา เนื่องในวันครูแห่งชาติ ๑๖ มกราคม ๒๕๕๒ ของจังหวัด ขอนแก่น จัดโดย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต ๑
    • (๒) ได้รับโล่รางวัล คัดเลือก “เป็นบุคคลผู้ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมดีเด่น เนื่องในโครงการ ๕ ธันวา ทำดีเพื่อพ่อ ประจำปี ๒๕๕๒” ณ คุ้มวัฒนธรรม หน้า ศาลากลางจังหวัดขอนแก่น ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย
    • ๓) ได้รับเกียรติบัตร “คณะกรรมการตัดสินการประกวดขับร้องสรภัญญ์เยาวชน ระดับมัธยมศึกษา” โครงการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาและมรดก ไทยอีสาน ระหว่างวันที่ ๖-๗ ตุลาคม ๒๕๕๒ ณ ศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ดำเนินการ โดยโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์
    • พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๙ ได้รับเกียรติบัตร “เป็นผู้ดำเนินรายการสถานีวิทยุกระจายเสียงพระพุทธศาสนา FM.๑๐๑.๗๕ และ ๘๘.๕ MHz. มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ตำบลโคกสี อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๔๘ –๒๕๕๘
    • พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๖๑ ได้เกียรติบัตร “คณะกรรมการตัดสินการแข่งขันสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัยทำนองสรภัญญะ ระดับจังหวัด และระดับภาค ใน เขตการปกครองคณะสงฆ์ภาค ๙ คือ ขอนแก่น,กาฬสินธุ์,ร้อยเอ็ด และมหาสารคาม เป็นประจำทุกปี โดยกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม
    • พ.ศ. ๒๕๕๓
    • (๑) ได้รับคัดเลือกเป็น “ครูในดวงใจ” เนื่องในวันครูแห่งชาติ ๑๖ มกราคม ๒๕๕๓จัดโดย ชมรมนิสิตคณะครุศาสตร์ มจร.วิทยาเขตขอนแก่น
    • (๒) ได้รับเกียรติบัตร “เป็นกรรมการดำเนินงานการจัดงานวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา วันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลก” ประจำปี ๒๕๕๓ ระหว่างวันที่ ๒๘-๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ตำบลโคกสี อำเภอเมืองขอนแก่น (มีภาพ และสำเนาเกียรติบัตรแนบ)
    • พ.ศ. ๒๕๕๔
    • (๑) ได้รับเกียรติบัตร “เป็นกรรมการดำเนินงานการจัดงานวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา วันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลก” ประจำปี ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๑๔-๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ตำบลโคกสี อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
    • (๒) ได้รับเกียรติบัตร “เข้าร่วมกิจกรรมสาธยายพระไตรปิฏกและปฏิบัติธรรม : วันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลก” ประจำปี ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๑๔-๑๕ พฤษภาคม< ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ตำบลโคกสี อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
    • พ.ศ.๒๕๕๕
    • (๑) ได้รับคัดเลือกเป็น “ผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น” ระดับจังหวัด ในงานวันภาษาไทยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๕ รับวุฒิบัตรจากกรมวัฒนธรรม โดย ศาสตราจารย์อภินันท์ โปษยานนท์ อธิบดีกรมส่งเสริมคุณธรรม จัดโดย สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดขอนแก่น ณ ศาลาประชาคมจังหวัดขอนแก่น โดย ศาสตราจารย์อภินันท์ โปษยานนท์ อธิบดีกรมส่งเสริมคุณธรรม
    • (๒) ได้รับคัดเลือกเป็น “ผู้มีคุณูปการต่อการใช้ภาษาไทยดีเด่น” ระดับจังหวัด ในงานวันภาษาไทยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๕ จัดโดย สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดขอนแก่น ณ ศาลาประชาคมจังหวัดขอนแก่น
    • (๓) ได้รับโล่รางวัล “วัฒนคุณากร ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวัฒนธรรม” ผลงานระดับชาติ จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ประจำปี ๒๕๕๕ ณ โรงละครแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร
    • (๔) ได้รับรางวัล “เสาเสมาธรรมจักพระราชทาน” จากสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดาฯ สยามบรมรากุมารี ในฐานะผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธ ศาสนา ประเภท ส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาภายในประเทศ เนื่องในวันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลก (ผลงานระดับชาติ)ประจำปี ๒๕๕๕
    • พ.ศ.๒๕๕๖ ได้รับเกียรติบัตร “วิทยากรโครงการอบรมคุณธรรมจริยธรรม ครูและบุคลากรทางการศึกษา” โครงการพัฒนาบุคลากรโรงเรียนโคกสูงประชา สรรพ์ ฉลองพระชันษา ๑๐๐ ปี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ๗ กันยายน ๒๕๕๖ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
    • พ.ศ.๒๕๕๗ ได้รับเกียรติบัตร “ได้รับคัดเลือกและนำเสนอผลงานทางวิชาการ เรื่องประสิทธิภาพการสอนวิชาพระพุทธศาสนาของครูผู้สอนในสถานศึกษา” สังกัด สพม. เขต ๒๕ เมื่อ ๒๒-๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๗ จัดโดย มจร. ร่วมกับ สกอ. , วช. สสส. ณ มจร.วิทยาเขตขอนแก่น
    • พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้รับโล่เกียรติคุณ “ ในฐานะผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาและสังคม” จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยให้การ สนับสนุน “รายการอาสาตามหาคนดี” MCUTV มอบโดย พระพรหมบัณฑิต อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (เมื่อ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๘
    • พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รับวุฒิบัตร “ได้ผ่านการฝึกอบรม โครงการฝึกอบรม “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” รุ่นที่ ๒ จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๒๑ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๙
    • พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รับวุฒิบัตร ผู้ผ่านการคัดเลือกและนำเสนอผลงานทางวิชาการ ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๓ “พุทธบูรณาการกับการวิจัยเพื่อการ พัฒนาสังคมที่ยั่งยืน” ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น เมื่อ ๒๘ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๙
    • Presens this certificate to centify that : has attended and presented his/her academic papers at The 3 National and the 1 International Conferences (NIC2016) ‘Integration of Buddhism with Research to Develop a Sustainable Society’ at Mahachulalongkornrajavidyalaya University Khon Kaen Campus 28 March 2016 by Mahachulalongkornrajavidyalaya University Khon Kaen Campus in collaboration with office of Higher Education Commission and The Network of Higher Education Institutes in the Upper Northeast, Thailand
    • พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๑ ได้รับเกียรติบัตรคณะกรรมการตัดสินการประกวด “ฮ้านประทีปวิถีอีสาน” งานประเพณีออกพรรษาใต้ประทีปบูชา พุทธกตัญญู ประจำ ปี ๒๕๕๙-๒๕๖๑ โดยเทศบาลนครขอนแก่น
    • พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับเกียรติบัตร เข้าร่วมการแสดงผลงาน “ด้านการผลิตบัณฑิต” ผลงานแนวปฏิบัติที่ดีระดับอุดมศึกษา(Show and Share ) ครั้งที่ ๑ ประจำปี การศึกษา ๒๕๕๙ จัดโดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น เมื่อ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๐
    • พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับเกียรติบัตร เป็นผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์บทความ ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๔ และระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๒ “พุทธนวัตกรรมเพื่อ พัฒนาประเทศไทย”(Buddhist Innovation for Developing Thailand) จัดโดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ร่วมกับ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสถาบันเครือข่ายอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น เมื่อ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
    • พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับเกียรติบัตร ผู้สำเร็จการฝึกอบรมตามโครงการอบรมด้านกฎหมายสำหรับผู้บริหาร “การเพิ่มประสิทธิภาพสำหรับผู้บริหาร” ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ระหว่าง ๒๔-๒๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
    • พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับวุฒิบัตร ผู้ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิดการเขียนรายงานการประเมินตนเอง(SAR )และการจัดเก็บเอกสารสอดรับกับ SAR ภายใต้ หัวข้อ “เขียน อย่างไร เขียนให้ถูก เขียนให้โดน” ระดับหลักสูตร ระหว่างวันที่ ๑-๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ จัดโดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
    • พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับเกียรติบัตรเข้าร่วมโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “เทคนิดการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอทุนตามยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี ยุค Thailand ๔.๐” เมื่อ ๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๐ จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
    • พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับเกียรติบัตร รางวัลรองชนะเลิศการประกวดขบวนแห่งานเทศกาลไหมนานาชาติ ประเพณีผูกเสี่ยวและงานกาชาดจังหวัดขอนแก่นปี ๒๕๖๐ โดยเป็นผู้นำบุคลากรและนิสิตเข้าร่วม จากผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น ดร.สมศักดิ์ จังตระกุล
    • พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับเกียรติบัตร รางวัลรองชนะเลิศการประกวดขบวนแห่งานเทศกาลไหมนานาชาติ ประเพณีผูกเสี่ยวและงานกาชาดจังหวัดขอนแก่นปี ๒๕๖๐ โดยเป็นผู้นำบุคลากรและนิสิตเข้าร่วม จากผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น ดร.สมศักดิ์ จังตระกุล
    • พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๑ ได้รับเกียรติบัตร “วิทยากรกลุ่มย่อย เรื่อง การศึกษาพระปริยัติธรรมสายสามัญ” โครงการอบรมสัมมนาพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน” ในเขตการปกครองคณะสงฆ์ภาค ๙ (ขอนแก่น, กาฬสินธุ์, ร้อยเอ็ด, มหาสารคาม) ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ตำบล โคกสี อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
    • พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้รับการประกาศเกียรติคุณและยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็น "คนดีศรีครุศาสตร์" ในด้าน การสร้างคุณประโยชน์ พัฒนา และส่งเสริมการศึกษา ใน วาระครบรอบ ๕๗ ปี คณะครุศสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    • พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้รับเกียรติบัตร “กรรมการตัดสินกลองยาว ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคอีสาน” ณ คุ้ม วัฒนธรรม ศาลาผูกเสี่ยว ในงานเทศกาลไหมนานาชาติ ประเพณีผูกเสียวและงานกาชาดจังหวัดขอนแก่น ประจำปี ๒๕๖๑ รับจาก นายกองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดขอนแก่น (๑๐ ธันวาคม ๒๕๖๑)
    • พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้รับวุฒิบัตร ผ่านการอบรมหลักสูตร Google Suite for Education เพื่อสร้างเสริมสมรรถนะการทำงาน และเพิ่มศักยภาพการสอน ระหว่าง ๑๕-๑๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
    • พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้รับวุฒิบัตร ผ่านการประชุมเชิงปฏิบัติการภายใต้หัวข้อ “การจัดทำแผนบริหารหลักสูตรตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา” ระหว่างวันที่ ๘-๙ สิงหาคมพ.ศ. ๒๕๖๑ จัดโดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
    • พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้รับวุฒิบัตร ผ่านการประชุมเชิงปฏิบัติการภายใต้หัวข้อ “การจัดทำกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (มคอ.)แบบบูรณาการและการใช้ ระบบ E-Office System” ระหว่างวันที่ ๙-๑๐ สิงหาคมพ.ศ. ๒๕๖๑ โดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๖๑
    • พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รับวุฒิบัตรได้เข้าอบรม "โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้คู่มือ และ Template สำหรับงานวิทยานิพนธ์" รุ่นที่ ๑ (ส่วนภูมิภาค) ณ วิทยาเขต ขอนแก่น เมื่อ ๑๑-๑๔ มกราคม ๒๕๖๒ จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    • พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รับเกียรติบัตร ได้เข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สัมมนาเครือข่ายวารสาร TCI มจร เพื่อเตรียมความพร้อมรับการประเมินรอบที่ ๔ ใน วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย พระนครศรีอยุธยา
    • พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รับเกียรติบัตร เป็นคณะกรรมการตัดสินการประกวดสวดมนต์สรรเสริญพระรัตนตรัย ทำนองสรภัญญะ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โครงการ มหกรรมส่งเสริมศีลธรรมและการประกวดพัฒนาผู้เรียนด้านพระพุทธศาสนา ครั้งที่ ๔ ระดับคณะสงฆ์ภาค ๙ (ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และ กาฬสินธุ์) เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
    • พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รับเกียรติบัตร ได้เข้าร่วมฝึกอบรมโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ หลักสูตรจิตอาสา ๙๐๔ เรื่อง สถาบันพระมหากษัตริย์ กับประเทศไทย" ในวันพุธที่ ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย พระนครศรีอยุธยา
    • พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รับเกียรติบัตร "เป็นผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการวิจัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ "การพัฒนางานวิจัยของ มหาวิทยาลัย ภายใต้กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(อว.)" ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น เมื่อ วันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
    • พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รับเกียรติบัตร ได้เข้าร่วมเป็น “จิตอาสา ทำความดีด้วยหัวใจ”มอบเครื่องอุปโภค บริโภคแก่ผู้ประสบอุทกภัย ณ บ้านกว้าง-บ้านดอกแก้ว ตำบล เขื่องคำ อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร เมื่อวันที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ จัดโดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
    • พ.ศ. ๒๕๖๒ได้รับเกียรติบัตร" เข้าร่วมพิธีจุดเทียนเพื่อแสดงความจงรักภักดีและน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณเนื่องในวันคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ณ ห้องแก่นเมือง ศาลากลางจังหวัดขอนแก่น เมื่อ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๒
    • พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รับเกียรติบัตรผ่านการอบรม"โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง "การจัดแผนงบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๖๔-๒๕๖๘ จัดโดยกองแผนงานและ กองกิจการวิทยาเขต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย พระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ ๒๑-๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
    • พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รับเกียรติบัตร "คณะกรรมการตัดสินการประกวดการขับร้องสรภัญญะ ประภทประชาชนทั่วไป ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน -๙ ธันวาคม ๒๕๖๒ ณ คุ้ม วัฒนธรรม ศาลาผูกเสี่ยว ในงานเทศกาลไหมนานาชาติ ประเพณีผูกเสียวและงานกาชาดจังหวัดขอนแก่น ประจำ ปี ๒๕๖๒ (จำนวน ๕ วัน)
    • พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รับเกียรติบัตร "คณะกรรมการตัดสินการประกวดกลองยาวภาคอีสาน ประภทประชาชนทั่วไป ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน -๙ ธันวาคม ๒๕๖๒ ณ คุ้ม วัฒนธรรม ศาลาผูกเสี่ยว ในงานเทศกาลไหมนานาชาติ ประเพณีผูกเสียวและงานกาชาดจังหวัดขอนแก่น ประจำ ปี ๒๕๖๒ (จำนวน ๗ วัน)
    • พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้รับเกียรติบัตร เป็นคณะกรรมการนำเสนอผลงานการปฏิบัติศาสนกิจ รุ่นที่ ๖๕ โครงการเวทีนำเสนอผลการปฏิบัติศาสนกิจต้นแบบ รุ่นที่ ๖๕ วิทยาเขตขอนแก่น และสัมมนาเตรียมความพร้อมก่อนปฏิบัติศาสนกิจ รุ่นที่ ๖๖ เมื่อ ๒๕ มกราคม ๒๕๖๓ จัดโดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
    • พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้รับเกียรติบัตร เป็นคณะกรรมการดำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพด้านภาษาอังกฤษสำหรับคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย โซนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างวันที่ ๒๗-๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
    • พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้รับเกียรติบัตร รางวัล "นักวิจัยระดับดีมาก" ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๓ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๔ มอบโดยอธิการบดีมหาวิทยาลัย
    • พ.ศ. ๒๕๖๔ ได้รับเกียรติบัตร รางวัล "ผลงานวิจัยระดับดีมาก" ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔ จากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๑๙ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๕ มอบโดยอธิการบดีมหาวิทยาลัย
    • พ.ศ. ๒๕๖๕ ได้รับคัดเลือกรับรางวัล "ครูในดวงใจ" ประจำสาขาวิชาหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา ในงานพิธีไหว้ครูประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ มจร วิทยาเขตขอนแก่น
    • พ.ศ. ๒๕๖๖ ได้รับคัดเลือกรับรางวัล "ครูในดวงใจ" ประจำสาขาวิชาหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา ในงานพิธีไหว้ครูประจำปีการศึกษา ๒๕๖๖ มจร วิทยาเขตขอนแก่น
    • พ.ศ. ๒๕๖๖ ได้รับประกาศเกียรติคูณรางวัล "เสาอโศกผู้นำศีลธรรม" มอบโดย ดร.หม่อมหลวงสราลี กิติยากร.. จากสมาคมผู้ทำคุณประโยชน์เพื่อพระพุทธ ศาสนาแห่งประเทศไทยและเครือข่าย ประจำปี ๒๕๖๖ (รับเมื่อวันที่ ๖ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๖
      • พ.ศ. ๒๕๖๖ ได้รับคัดเลือกรับรางวัล "ศิษย์เก่าเกียรติยศ"(บัวแก้วเกียรติยศ)ด้านการบริหารจัดการและประสบผลสำเร็จในหน้าที่การงานวิชาชีพ คณะศึกษา ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปี ๒๕๖๖ (เมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๖)
          ๒. ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เชิดชูเกียรติ
          • ครั้งที่ ๑ ชั้น ที่ ๔ จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.) เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๕
          • ครั้งที่ ๒ ชั้น ที่ ๔ จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก (จ.ช.) เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๐
          • ครั้งที่ ๓ ชั้น ที่ ๓ ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.) เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๓
          • ครั้งที่ ๔ ชั้น ที่ ๓ ตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.) เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๘
          • ครั้งที่ ๕ ชั้น ที่ ๒ ทวีติยาภรณ์มงกุฏไทย(ท.ม.) เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๖๓
          ๓. การศึกษาดูงานต่างประเทศ ด้านสังคม การศึกษา พระพุทธศาสนา และศิลปวัฒนธรรม
          • ประเทศ สปป.ลาว จำนวน ๖ ครั้ง
          • ประเทศเวียดนาม จำนวน ๓ ครั้ง
          • ประเทศมาเลเซีย จำนวน ๒ ครั้ง
          • ประเทศสิงคโปร์ จำนวน ๓ ครั้ง
          • ประเทศกัมพูชา จำนวน ๒ ครั้ง
          • ประเทศจีน จำนวน ๒ ครั้ง
          • ประเทศเกาหลีใต้ จำนวน ๑ ครั้ง
          • ประเทศอินเดีย จำนวน ๖ ครั้ง
          • ประเทศศรีลังกา จำนวน ๑ ครั้ง
          • ประเทศญี่ปุ่น จำนวน ๑ ครั้ง
          • ประเทศสหรัฐอเมริกา จำนวน ๒ ครั้ง
    สมณศักดิ์