ดร.ปาณจิตร สุกุมาลย์

อาจารย์

สถานที่เกิด ขอนแก่น
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
ตำแหน่งทางคณะสงฆ์
ที่อยู่ปัจจุบัน ๑๗๖/๓ หมู่ ๑๗ ซอยวีรวรรณ ๓ ถนนหน้าเมือง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๐๐๐
สถานที่ทำงาน/การติดต่อ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ๓๐ หมู่ ๑ ต.โคกสี อ.เมือง จ.ขอนแก่น รหัสไปรษณีย์ ๔๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘๑๗๑๗๔๙๔๐
การศึกษา
  • ระดับปริญญาเอก พ.ศ. ๒๕๖๐ การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ระดับปริญญาโท พ.ศ. ๒๕๕๔ ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
  • ระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๔ ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
  • ระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๑ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (ค.อ.บ. สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตขอนแก่น
  • งานคณะสงฆ์
    ประวัติการทำงาน
  • พ.ศ. ๒๕๖๒ - ปัจจุบัน ตำแหน่ง อาจารย์ ภาระงาน : บรรยายระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก
  • พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๒ ตำแหน่ง นักวิชาการศึกษา ภาระงาน : วางแผนและงบประมาณ จัดคำขอตั้งงบประมาณ และบริหารงานด้านแผนพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
  • พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๖ ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล ภาระงาน : วางแผนการจัดการศึกษาหลักสูตรระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
  • พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๔๙ ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่โครงการหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู ภาระงาน : ประสานงาน อำนวยความสะดวก คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนิสิต
  • งานวิจัย หัวหน้าโครงการวิจัย
  • ปาณจิตร สุกุมาลย์. การพัฒนาแบบประเมินการจัดการเรียนรู้อย่างมีความสุขของนิสิตในศตวรรษที่ ๒๑. รายงานการวิจัย, กองทุนส่งเสริมงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น งบประมาณ ๒๕๖๕.
  • ผู้ร่วมโครงการวิจัย
  • สมควร นามสีฐาน และปาณจิตร สุกุมาลย์. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์โดยนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ ในสถานการณ์ NEXT NORMAL ของโรงเรียนในจังหวัดขอนแก่น, รายงานการวิจัย, กองทุนส่งเสริมงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น งบประมาณ ๒๕๖๔
  • สุทธิพงษ์ สวัสดิ์ทา สมควร นามสีฐาน และปาณจิตร สุกุมาลย์, รูปแบบจิตอาสาและความรับผิดชอบต่อสังคมของเยาวชนต้นแบบจังหวัดขอนแก่น, กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖
  • สุวิน ทองปั้น และปาณจิตร สุกุมาลย์, อารยธรรมลุ่มน้ำชี: ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาในจังหวัดขอนแก่น” Chi Valley Civilization : History Culture and Wisdom in Khonkean Province เป็นโครงการวิจัยย่อยที่ ๑ ภายใต้แผนงานวิจัย เรื่อง อารยธรรมลุ่มน้ำชี: ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาในชุมชนอีสาน, กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖
  • บทความวิจัย/ทางวิชาการ บทความวิจัย
  • ๑) พ.ศ. ๒๕๕๗ ตัวแปรจำแนกการสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ : ๗ ฉบับที่ : ๒ หน้า : ๗๘-๙๑ http://www.journal.nu.ac.th/JCDR/article/view/749/624
  • ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗ หมอดูและหมอนวด : ท่อระบายความเครียดและความใคร่ของสังคมไทย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ : ๑๖ ฉบับที่ : ๓ หน้า : ๑๗๒-๑๘๐ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/19130/16835
  • ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ วิทยา ทองดี, ปาณจิตร สุกุมาลย์, รูปแบบพุทธบูรณาการเพื่อการส่งเสริมครูต้นแบบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน, วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น ,(TCI 1) ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๓ เดือน กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๒ หน้า ๑๙๔ – ๒๐๘, (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๒).
  • บทความวิชาการ
  • ๑) พ.ศ. ๒๕๖๑ ภาวะผู้นำสถานศึกษาที่พึงประสงค์ในยุคโลกาภิวัตน์. เอกสารการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๙ ระดับชาติครั้งที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๑ วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ. “วัฒนธรรมเชิงพุทธกับการพัฒนาที่ยั่งยืน” หน้า ๓๗-๔๘.
  • ผลงานทางวิชาการที่ได้รับตีพิมพ์เผยแพร่ระดับนานาชาติ(SCOPUS/ERIC)
  • ๑) Vitthaya Thongdee, Pranjitr Sukumal, Ekkarach Kositpimanvach, Somkhul Namsrithan, Phanthiwa Thabphumee, Niraj Ruangsan. (2021). The Buddhist Integrative Model in Promoting Master Teachers in Upper Northeast of Thailand. Psychology and Education. (in Accepted Status). (Scopus) link: http://www.psychologyandeducation.net/pae/index.php/pae/article/view/4656/4105
  • ๒) PhramahaSuttidon Jittapanyo (Poonok), Phramaha Phisit Suebnisai, Panjitr Sukumal, Panya Klaydesh. An Indicator Development of Political Culture Model for Thai Citizen. Solid State Technology Volume: 63 Issue: 2s Publication Year: 2020 https://solidstatetechnology.us/index.php/JSST/article/view/1948
  • ตำราวิชาการ
    เอกสารประกอบการสอน
  • ๑. วิชา การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
  • ๒. วิชา การวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
  • ๓. วิชา การวิจัยทางสังคมศึกษา
  • งานที่ปรึกษาวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
      ปีการศึกษา ๒๕๖๒
    • ๑. การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมโดยสร้างศรัทธาและวิธีการคิดตามหลักโยนิโสมนสิการ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ในยุคไทยแลนด์ ๔.๐ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเขาสวนกวางวิทยานุกูล จังหวัดขอนแก่น LEARNING MANAGEMENT OF SOCIAL STUDIES, REIIGION AND CUITURE DEPARTMENT BY BUILDING FAITH AND THINKING METHODS IN ACCORDANCE WITH THE PRINCIPLES OF YONISOMANASIKÃRA FOR DEVELOPING CRITICAL THINKING SKILLS IN THAILAND 4.0 ERA OF KHAO SUAN KWANG WITTAYANUKUL HIGH SCHOOL STUDENTS, KHON KAEN PROVINCE
    • ๒. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือในการส่งเสริมความมีจิตอาสาต่อการเรียนการสอนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเทศบาล ๑ (บ้านโพธิ์กลาง) จังหวัดอุบลราชธานี THE MANAGEMENT OF COOPERATIVE LEARNING ACTIVITIES TO PROMOTE VOLUNTEERISM OF UPPER SECONDARY SCHOOL STUDENTS IN MUNICIPAL SCHOOL 1 (BAN PHO KLANG), UBON RATCHATHANI PROVINCE
    • ๓. การจัดการเรียนรู้ตามหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ของครูโรงเรียนศรีรัตนวิทยา อำเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ THE LEARNING MANAGEMENT ACCORDING TO THE FOUR IDDHIPADA DHAMMA PRINCIPLES TO INCREASE THE WORK EFFICIENCY ACCORDING TO THE TEACHER PROFESSIONAL STANDARDS OF RIRATTANAWITTHAYA SCHOOL TEACHERS, SRIRATTANA DISTRICT, SISAKET PROVINCE
    • ๔. การใช้หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนของนักเรียน โรงเรียนหนองสองห้องวิทยา อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น APPLICATION OF IDDHHIPADA DHAMMA 4 DOCTRINCES TO PROMOTE LEANING SKILL NONGSONGHONG WITTAYA SCHOOL NONGSONGHONG DISTRICT KHONGKAEN PROVINCE
    • ๕. การจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมตามหลักพรหมวิหาร 4 ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนครขอนแก่น อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น THE PARTICIPATORY LEARNING MANAGEMENT BASED ON THE FOUR BRAHMAVIHARA DHAMMAS OF UPPER SECONDARY SCHOOL STUDENTS IN NAKHON KHON KAEN SCHOOL. MUEANG DISTRICT. KHON KAEN PROVINCE
    ปีการศึกษา ๒๕๖๓
  • ๑. รูปแบบการจัดการความรู้ด้านการดูแลรักษาสุขภาพโดยสมุนไพรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในตำบลหนองโดน อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ
  • ๒. แนวทางการจัดการเรียนรู้ภาษาบาลีแก่ภิกษุสามเณรของสำนักเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี จังหวัดขอนแก่น
  • ๓. การจัดการเรียนรู้ออนไลน์ในยุคดิจิทัล รายวิชาหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนคอนสารวิทยาคม จังหวัดชัยภูมิ
  • ๔. การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) เพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองเลย จังหวัดเลย
  • ๕. การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป เรื่องหน้าที่ชาวพุทธ โดยการจัดการเรียนรู้แบบ ACTIVE LEARNING กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนพระปริยัติธรรมปัจฉิมวันวิทยา จังหวัดอำนาจเจริญ
  • ๑๑. การประยุกต์ใช้หลักอิทธิบาท 4 ในการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ของครูสังคมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 24
  • ปีการศึกษา ๒๕๖๔
  • การจัดการเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนา ตามหลักอิทธิบาท 4 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์
  • การจัดการเรียนรู้วิชาหน้าที่พลเมืองตามวิถีประชาธิปไตยแบบบูรณาการ โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา โรงเรียนดอนจานวิทยาคม จังหวัดกาฬสินธุ์
  • การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์โดยใช้หลักการสร้างศรัทธาและโยนิโสมนัสสิการ รายวิชาสังคมศึกษา เรื่อง ค่านิยมสังคม ของนิสิตชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ
  • การพัฒนาชุดการสอน เรื่อง สภาวะโลกร้อน โดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบ 4 MAT ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาในสหวิทยาเขตลุ่มน้ำปาว จังหวัดอุดรธานี
  • ปีการศึกษา ๒๕๖๕
  • การจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาโรงเรียนประภัสสรวิทยา วัดศรีนวล จังหวัดขอนแก่น
  • พัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนแบบสืบเสาะความรู้ 5E รายวิชาพระพุทธศาสนา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย
  • การพัฒนาชุดการสอน เรื่องพระรัตนตรัยและอริยสัจ4โดยใช้พุทธวิธีการสอนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านเกิ้ง อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนเเก่น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนเเก่น เขต 2
  • รูปแบบการจัดการเรียนรู้พระปริยัติธรรมแผนกธรรมของสำนักศาสนศึกษา ในเขตอำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น
  • การพัฒนาชุดการสอน เรื่อง การป้องกันการทุจริต ตามการสอนแบบ ACTIVE LEARNING (MIAP) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนศรีศาสนวิทยา อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
  • การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพระพุทธศาสนา กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเขวาไร้ศึกษา จังหวัดมหาสารคาม โดยใช้แบบฝึกทักษะ
  • การพัฒนาชุดการสอน เรื่อง ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ร่วมกับระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) โดยใช้อริยสัจ 4 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพิศาลปุณณวิทยา
  • ปีการศึกษา ๒๕๖๖
    รางวัล/การได้รับเชิดชูเกียรติ / การศึกษาดูงาน
      การได้รับเชิดชูเกียรติได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เชิดชูเกียรติ
    • ครั้งที่ ๑ ชั้น ที่ ๔ จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.) เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๕
    • ครั้งที่ ๒ ชั้น ที่ ๔ จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก (จ.ช.) เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๐
    สมณศักดิ์